วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ส่งงานe-Journals

http://www.mediafire.com/?4r1ko2i0wod3daw

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7

ภาษาอังกฤษ (อังกฤษ: English language) เป็นภาษาตระกูลเจอร์เมนิกตะวันตก มีต้นตระกูลมาจากอังกฤษ เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแรกมากที่สุดเป็นอันดับ 3 (พ.ศ. 2545: 402 ล้านคน) ภาษาอังกฤษถือเป็นภาษากลาง (lingua franca) เนื่องจากอิทธิพลทางทหาร เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักศึกษาทุกคนจำเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพราะว่าภาษาอังกฤษนั้นได้เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่งต่อผู้คนในหลากหลายอาชีพ ซึ่งบางอาชีพต้องการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาอังกฤษมาช่วยประสานงาน ทำให้งานทุกอย่างนั้นง่ายราบรื่นและสำเร็จลงไปได้ด้วยดี

คำว่า อังกฤษ ในภาษาไทย มีที่มาจากคำอ่านของคำว่า Inggeris ในภาษามลายูที่ยืมมาจาก anglais (English) ( /ɑ̃glɛ/ (ข้อมูล)) ในภาษาฝรั่งเศส

ภาษาอังกลิช/แองกลิช (Angles) เป็นภาษาโบราณซึ่งใช้กันในชนชาติแองโกลที่อพยพสู่เกาะบริเตน และเป็นหนึ่งในภาษาแบบฉบับของภาษาอังกฤษ เพราะฉะนั้น หากพูดถึงภาษาแองกลิชแล้ว ก็ต้องระวังเสียงพ้องกับคำว่า ภาษาอังกฤษ
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9

วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวประจำที่6

ยินดีต้อนรับสู่ วิกิซอร์ซ เว็บไซต์นี้เป็นที่รวบรวมแหล่งข้อมูลในทุกๆ ภาษาที่เป็นสาธารณสมบัติ หรืออนุญาตให้ใช้ได้ภายใต้สัญญาแบบ GFDL เว็บไซต์นี้เป็นส่วนหนึ่งของมูลนิธิวิกิมีเดียและเป็นโครงการพี่น้องกับวิกิพีเดียซึ่งเปิดเสรี ปัจจุบันวิกิซอร์ซมีเนื้อหาภาษาไทยทั้งหมด 13,242 หน้า และมีผู้ใช้ 1,320 คน

เอกสารราชการ
รัฐธรรมนูญ
รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐
รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๔๙
รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. ๒๔๕๗
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง ฯ พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ร.บ. การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๙๗
พระราชบัญญัติส่งเสริมวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
รายชื่อคณะรัฐมนตรี
ประกาศคณะปฏิวัติ
ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑
ประกาศคณะรัฐประหาร
ประกาศและคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองฯ พ.ศ. 2549
คำพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกา
คำพิพากษาศาลอาญา
คำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ
คำพิพากษาตุลาการรัฐธรรมนูญคดียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน พ.ศ. 2549
คำพิพากษาคดียึดทรัพย์ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
เอกสารอื่น ๆ
ชื่อเอกสารและสิ่งพิมพ์ที่ห้ามผู้ใดมีไว้ครอบครอง พ.ศ. 2520
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. แบบสัดส่วน ทั้ง 8 กลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2550
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 จำแนกรายเขตเลือกตั้ง
แหล่งข้อมูลต้นฉบับ
กฎหมาย
หนังสือรวมกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลฉบับสมบูรณ์
หนังสือกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ ฉบับสมบูรณ์
ประมวลกฎหมายอาญา
กฎหมายควบคุมอาคาร
ศาสนา
พระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎก (ภาษาไทย)
บทสวดมนต์และพระคาถา
อรรถกถาพระสูตร (ภาษาไทย)
รวบรวมธรรมะ
หนังสือธรรมะ
หนังสือหลักสูตรเรียนธรรม
คริสต์ศาสนา
ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร
พระสมณสาสน์ว่าด้วยการทำงาน
พันธสัญญาเดิม
พันธสัญญาใหม่
ศาสนาอิสลาม
อัลกุรอาน (สำนวนแปลสมาคมศิษย์เก่าอาหรับ)
อัลกุรอาน (สำนวนแปลอะบูอิสรอฟีล)
เศรษฐกิจและสังคม
จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน
พระราชสุนทรพจน์ของมกุฎราชกุมาร ตองสา เพ็นลอป จิกมี เคซาร์ นัมเกล วังชุกแห่งราชอาณาจักรภูฏาน
ประวัติศาสตร์
โบราณคดี
ศิลาจารึก
พงศาวดาร
ตำนาน
ประวัติ
คำไว้อาลัย
พระราชวงศ์ไทย
กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์
พระบรมราชโองการ
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2536
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2537
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2538
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2539
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2540
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2541
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2542
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2543
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2544
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2545
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2546
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2547
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2548
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2549
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2550
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2551
พระราชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพ.ศ. 2552
พระราชหัตถเลขา
ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - วิจารณ์หนังสือพิมพ์
ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ณ โรงเรียนจิตรลดา
แถลงการณ์สำนักพระราชวัง
วรรณคดี
พระราชนิพนธ์ - ไกรทอง - นิราศพระบาท - สมบัติอมรินทร์คำกลอน - ลิลิตเพชรมงกุฎ - โองการแช่งน้ำ - กฤษณาสอนน้อง - นิราศวัดเจ้าฟ้า - พระมะเหลเถไถ - ระเด่นลันได - โคลงโลกนิติ - กาพย์เห่เรือ - นิราศนรินทร์ - สรรพลี้หวน - ลิลิตตะเลงพ่าย - บทอาขยาน - ไตรภูมิพระร่วง - นิราศภูเขาทอง - นิราศอิเหนา - สี่แผ่นดิน - มหาเวสสันดรชาดก ฉบับวิงวอนหลวง - นิทานเวตาล - รำพันพิลาป - โคลงภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์
เพลง
เพลงชาติไทย
เพลงชาติสยาม
เพลงพระราชนิพนธ์
เพลงเฉลิมพระเกียรติพระพี่นาง
เพลงลอยกระทง
เพลงปลุกใจ
เพลงปีใหม่
เพลงคริสต์มาส
เพลงมาร์ชดำแดง
ที่มาhttp://th.wikisource.org/wiki/

ข่าวสารประจำที่5

FBI เปิดศึกวิกิพีเดีย?
เกิดศึกโต้เถียงกันเล็กน้อย ระหว่างสำนักงานสอบสวนกลางของสหรัฐ ที่รู้จักกันในนาม FBI กับสารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย เกี่ยวกับการใช้ภาพตราของสำนักงานในหน้าบทความของวิกิพีเดีย

เมื่อเดือนที่ผ่านมา สำนักงานสอบสวนกลางได้ส่งจดหมายไปยังมูลนิธิวิกิมีเดีย (Wikimedia Foundation) ซึ่งเป็นองค์กรที่ดูแลสารานุกรมวิกิพีเดีย ให้นำภาพตราของเอฟบีไอ ออกจากหน้าบทความในสารานุกรม โดยขู่ที่จะดำเนินคดีตามกฎหมายหากไม่ปฏิบัติตาม (ดูไฟล์จดหมายได้จากที่มา)

อย่างไรก็ตาม วิกิมีเดียได้ตอบโต้ว่า กฎหมายที่ถูกนำมาอ้างถึงนั้น เกี่ยวข้องกับการห้ามนำตราปลอมไปใช้แสดงตัวหรือหาประโยชน์ต่างหาก และเว็บไซต์อื่นๆ ก็แสดงตราแบบนี้เหมือนกัน รวมถึงสารานุกรมบริทานิกาด้วย ผู้บริหารวิกิมีเดียกล่าวว่า พร้อมที่จะโต้แย้งเรื่องนี้ในชั้นศาล

ด้านโฆษกของเอฟบีไอกล่าวว่า มีการส่งจดหมายลักษณะนี้อยู่เป็นระยะๆ อยู่แล้ว และตามกฎหมายแล้ว ใครก็ตามไม่สามารถใช้ตราสัญลักษณ์ได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากเอฟบีไอ

ด้านผู้อำนวยการฝ่ายกฎหมายของ Electronic Frontier Foundation (EFF – องค์กรที่เรียกร้องเรื่องสิทธิเสรีภาพในโลกดิจิทัล) บอกว่านี่เป็นเรื่องงี่เง่ามาก และวิกิพีเดียก็มีสิทธิตาม First Amendment (บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญของสหรัฐ ที่คุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออก) ที่จะแสดงตรานี้ นอกจากนี้ยังกล่าวเสริมว่า เอฟบีไอน่าจะมีอะไรที่สำคัญกว่านี้ทำแน่ๆ

ที่มา – The New York Times

ข่าวสารประจำที่4

วิกิพีเดียภาษาไทย เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาไทย เริ่มสร้างเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีบทความสารานุกรมกว่า 6 หมื่นบทความ (พฤษภาคม 2553) มีสมาชิกลงทะเบียนมากกว่า 8 หมื่นบัญชี และมีการแก้ไขเนื้อหามากกว่า 2 ล้านครั้ง

วิกิพีเดียภาษาไทยเป็นสารานุกรมออนไลน์ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชาวไทยให้ความนิยมอย่างมาก จากการสำรวจกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชาวไทยโดย มนัสชล หิรัญรัตน์ เมื่อ พ.ศ. 2550 พบว่าประมาณร้อยละ 80 เข้าใช้วิกิพีเดียภาษาไทยอย่างน้อยเดือนละครั้ง และประมาณร้อยละ 27 เคยมีส่วนร่วมในการปรับปรุงเนื้อหา[1]

เนื้อหา:
1. ลักษณะเฉพาะ
2. ลำดับเหตุการณ์
3. สถิติ
4. อ้างอิง
5. ดูเพิ่ม
6. แหล่งข้อมูลอื่น


วิกิพีเดียภาษาไทย

เว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/
เชิงพาณิชย์? ไม่ใช่
ประเภทเว็บไซต์ สารานุกรมออนไลน์
สมัครสมาชิก? ไม่จำเป็น
ภาษา ภาษาไทย
เจ้าของ มูลนิธิวิกิมีเดีย
ผู้ก่อตั้ง ชุมชนชาววิกิไทย
ที่มาhttp://wapedia.mobi/th